การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ [ 2564 ]
INTEGRITY AND TRANSPARENCY ASSESSMENT : ITA
ITA คืออะไร ?
ITA คืออะไร ?
หากจะว่าไปแล้ว การวัดหรือประเมินระดับการทุจริตคอร์รัปชันดูจะเป็นเรื่องยากที่สุดในกระบวนการศึกษาวิจัยเรื่อง การต่อต้านทุจริต ( Anti-Corruption Study ) คำถามที่ว่า ทำไมเราต้องวัดหรือประเมินระดับการคอร์รัปชันนั้น คำตอบที่ได้ คือ หากเราไม่วัด เราก็ไม่มีทางรู้ว่า สังคมเรามีปัญหาคอร์รัปชันมากน้อยแค่ไหน 20 ปีมาแล้ว ที่องค์กรความโปร่งใสสากล หรือ Transparency International ได้สร้างตัวชี้วัดระดับการทุจริตขึ้นมา หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ Corruption Perception Index ( CPI ) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนภาพลักษณ์ระดับการคอร์รัปชันของประเทศต่างๆ ในโลก CPI ทำให้เรารู้ว่า ประเทศใดที่มีรัฐบาลโปร่งใส การบริหารงานเต็มไปด้วยธรรมาภิบาล ตรวจสอบได้ และมีผู้พร้อมแสดงความรับผิดชอบเมื่อกระทำผิด ( Accountability ) ในทำนองเดียวกัน CPI ทำให้เราทราบว่า ประเทศใดมีปัญหาด้านความโปร่งใส มีรัฐบาลขี้โกง มีระบบราชการที่ฉ้อฉล มีนักการเมืองขี้ฉ้อ เพราะสิ่งที่ว่ามานี้ล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งสิ้น
สำหรับประเทศไทยแล้ว รัฐเองพยายามสร้างตัวชี้วัดความโปร่งใสในหน่วยงานภาครัฐ ( Transparency Index หรือ TI ) โดยศูนย์วิจัยเพื่อต่อต้านการทุจริต ป๋วย อึ๊งภากรณ์ สำนักงาน ป.ป.ช. เมื่อปี พ.ศ. 2552 ศูนย์วิจัยป๋วยฯ เริ่มพัฒนาดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พร้อมๆ กับการศึกษาแนวคิดการประเมินคุณธรรมการดำเนินงาน ( Integrity Assessment หรือ IA ) จนกระทั่งปี พ.ศ. 2554 ศูนย์วิจัยป๋วยฯ ดำเนินการวัดความโปร่งใสของหน่วยงานนำร่องภาครัฐ โดยเฉพาะส่วนราชการในส่วนกลางที่ " อาสา " มาให้วัดระดับความโปร่งใส ต่อมานักวิจัยนำดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐมาปรับรวมกับ Integrity Assessment ซึ่งใช้ประเมินคุณธรรมการดำเนินงานจนกลายเป็นดัชนีตัวใหม่ที่เรียกว่า Integrity & Transparency Assessment ( ITA ) ดัชนี ITA เรียกเต็มๆ ว่า " การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ " ซึ่งมีมหาวิทยาลัยหอการค้าเป็นที่ปรึกษาในการจัดทำดัชนี ITA เป็นส่วนผสมระหว่าง TI และ IA และเรียกรวมๆ กันว่าเป็น Thailand Integrity & Transparency Assessment เหตุที่ต้องใช้ว่า Thailand นำหน้าด้วยก็เพื่อเป็นเครื่องมือป้องกันทุจริตคอร์รัปชันที่มีเอกลักษณ์เหมาะสมกับวัฒนธรรมไทยๆ กรอบแนวคิดการประเมินของ ITA มีทั้งหมด 5 เรื่อง ได้แก่
(1) ประเมินความโปร่งใส ( Transparency )
(2) ประเมินความรับผิดชอบ ( Accountability )
(3) ประเมินการทุจริตคอร์รัปชัน ( Corruption )
(4) ประเมินวัฒนธรรมคุณธรรม ( Integrity Culture )
(5) ประเมินคุณธรรมการทำงาน ( Work Integrity )
การสร้างกรอบแนวคิดการประเมินขึ้นก่อนนี้ ทำให้การประเมินมีทิศทางชัดเจน แม้เราจะมองว่า การวัดคุณธรรมเป็นเรื่องยากเพราะคุณธรรมเป็นนามธรรม ( Abstract ) มากกว่าจะจับต้องได้ อย่างไรก็ดี คุณธรรมที่ถูกประเมินนี้ วัดได้จาก วัฒนธรรมองค์กร การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชันในองค์กร ขณะที่คุณธรรมการทำงานก็พิจารณาจาก การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ และความเป็นธรรมในการมอบหมายงาน
ITA เป็นดัชนีที่พยายามสร้างออกมาให้เป็นรูปธรรมเท่าที่ผู้ประเมินจะทำได้ เพราะหลังจากการดำเนินการแล้ว ผู้ประเมินจะคำนวณคะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐโดยรวมออกมา ค่าดัชนี ITA อยู่ระหว่าง 0-100 ถ้าหน่วยงานใดมีค่าระดับ ITA เข้าใกล้ 100 แสดงว่าหน่วยงานนั้น มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานสูงมาก ขณะที่ค่า ITA เข้าใกล้ 0 ก็แสดงว่า หน่วยงานรัฐนั้นมีระดับความโปร่งใสของการดำเนินงานและคุณธรรมต่ำมาก
ปัจจุบัน เกณฑ์การให้ค่าคะแนน ITA แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ
- สูงมาก (80-100)
- สูง (60-79.99)
- ปานกลาง (40-59.99)
- ต่ำ (20-39.99)
- ต่ำมาก (0-19.99)
การรวบรวมข้อมูลการประเมินมีที่มาทั้งจากบุคคลภายนอก บุคคลภายใน เก็บหลักฐานเชิงประจักษ์ ( Evidence Base ) และใช้ข้อมูลตัวชี้วัดที่หน่วยงานอื่นรวบรวมและดำเนินการเป็นดัชนี อาจกล่าวได้ว่า ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา สำนักงาน ป.ป.ช. พยายามพัฒนาและปรับปรุงตัวชี้วัดเพื่อประเมินความโปร่งใสและคุณธรรมของหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนี ITA จะมีประโยชน์ก็ต่อเมื่อ " ผู้เห็นคุณค่า " ของมันนำไปกำหนดนโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน หรือ กำหนดพื้นที่ความเสี่ยงสำหรับหน่วยงานที่ทำหน้าที่ตรวจสอบ เช่น สตง. ซึ่งหากทำได้จะเป็นการ " บูรณาการการต่อต้านคอร์รัปชัน " ที่ไม่ได้เป็นแค่เพียง " วาทกรรม " หรูๆ แต่ทำอะไรไม่ได้จริง การต่อต้านคอร์รัปชันมิใช่ การต่อต้านด้วยวาทกรรมแบบ " ไร้เดียงสา " ที่มองว่า ปัญหาคอร์รัปชันเป็นแค่เรื่องของคนชั่วเพียงอย่างเดียว พฤติการณ์คอร์รัปชันมีความลึกซึ้งละเอียดอ่อน เกี่ยวข้องกับการวางกลไกควบคุม ล้อมกรอบ และจำกัดปัญหาไม่ให้ลุกลามบานปลาย โดยอาศัยความรู้เป็นเครื่องนำทาง มิใช่เอาแต่อารมณ์เคียดขึ้งชิงชังป็นตัวนำ เพราะการใช้ " สติปัญญา " ในการแก้ปัญหา คือที่มาของการแก้ปัญหาของสังคมที่เจริญแล้ว
หากจะว่าไปแล้ว การวัดหรือประเมินระดับการทุจริตคอร์รัปชันดูจะเป็นเรื่องยากที่สุดในกระบวนการศึกษาวิจัยเรื่อง การต่อต้านทุจริต ( Anti-Corruption Study ) คำถามที่ว่า ทำไมเราต้องวัดหรือประเมินระดับการคอร์รัปชันนั้น คำตอบที่ได้ คือ หากเราไม่วัด เราก็ไม่มีทางรู้ว่า สังคมเรามีปัญหาคอร์รัปชันมากน้อยแค่ไหน 20 ปีมาแล้ว ที่องค์กรความโปร่งใสสากล หรือ Transparency International ได้สร้างตัวชี้วัดระดับการทุจริตขึ้นมา หรือที่เรารู้จักกันในชื่อ Corruption Perception Index ( CPI ) ซึ่งเป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนภาพลักษณ์ระดับการคอร์รัปชันของประเทศต่างๆ ในโลก CPI ทำให้เรารู้ว่า ประเทศใดที่มีรัฐบาลโปร่งใส การบริหารงานเต็มไปด้วยธรรมาภิบาล ตรวจสอบได้ และมีผู้พร้อมแสดงความรับผิดชอบเมื่อกระทำผิด ( Accountability ) ในทำนองเดียวกัน CPI ทำให้เราทราบว่า ประเทศใดมีปัญหาด้านความโปร่งใส มีรัฐบาลขี้โกง มีระบบราชการที่ฉ้อฉล มีนักการเมืองขี้ฉ้อ เพราะสิ่งที่ว่ามานี้ล้วนแล้วแต่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทั้งสิ้น
สำหรับประเทศไทยแล้ว รัฐเองพยายามสร้างตัวชี้วัดความโปร่งใสในหน่วยงานภาครัฐ ( Transparency Index หรือ TI ) โดยศูนย์วิจัยเพื่อต่อต้านการทุจริต ป๋วย อึ๊งภากรณ์ สำนักงาน ป.ป.ช. เมื่อปี พ.ศ. 2552 ศูนย์วิจัยป๋วยฯ เริ่มพัฒนาดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ พร้อมๆ กับการศึกษาแนวคิดการประเมินคุณธรรมการดำเนินงาน ( Integrity Assessment หรือ IA ) จนกระทั่งปี พ.ศ. 2554 ศูนย์วิจัยป๋วยฯ ดำเนินการวัดความโปร่งใสของหน่วยงานนำร่องภาครัฐ โดยเฉพาะส่วนราชการในส่วนกลางที่ " อาสา " มาให้วัดระดับความโปร่งใส ต่อมานักวิจัยนำดัชนีวัดความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐมาปรับรวมกับ Integrity Assessment ซึ่งใช้ประเมินคุณธรรมการดำเนินงานจนกลายเป็นดัชนีตัวใหม่ที่เรียกว่า Integrity & Transparency Assessment ( ITA ) ดัชนี ITA เรียกเต็มๆ ว่า " การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ " ซึ่งมีมหาวิทยาลัยหอการค้าเป็นที่ปรึกษาในการจัดทำดัชนี ITA เป็นส่วนผสมระหว่าง TI และ IA และเรียกรวมๆ กันว่าเป็น Thailand Integrity & Transparency Assessment เหตุที่ต้องใช้ว่า Thailand นำหน้าด้วยก็เพื่อเป็นเครื่องมือป้องกันทุจริตคอร์รัปชันที่มีเอกลักษณ์เหมาะสมกับวัฒนธรรมไทยๆ กรอบแนวคิดการประเมินของ ITA มีทั้งหมด 5 เรื่อง ได้แก่
(1) ประเมินความโปร่งใส ( Transparency )
(2) ประเมินความรับผิดชอบ ( Accountability )
(3) ประเมินการทุจริตคอร์รัปชัน ( Corruption )
(4) ประเมินวัฒนธรรมคุณธรรม ( Integrity Culture )
(5) ประเมินคุณธรรมการทำงาน ( Work Integrity )
การสร้างกรอบแนวคิดการประเมินขึ้นก่อนนี้ ทำให้การประเมินมีทิศทางชัดเจน แม้เราจะมองว่า การวัดคุณธรรมเป็นเรื่องยากเพราะคุณธรรมเป็นนามธรรม ( Abstract ) มากกว่าจะจับต้องได้ อย่างไรก็ดี คุณธรรมที่ถูกประเมินนี้ วัดได้จาก วัฒนธรรมองค์กร การต่อต้านทุจริตคอร์รัปชันในองค์กร ขณะที่คุณธรรมการทำงานก็พิจารณาจาก การบริหารงานบุคคล การบริหารงบประมาณ และความเป็นธรรมในการมอบหมายงาน
ITA เป็นดัชนีที่พยายามสร้างออกมาให้เป็นรูปธรรมเท่าที่ผู้ประเมินจะทำได้ เพราะหลังจากการดำเนินการแล้ว ผู้ประเมินจะคำนวณคะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐโดยรวมออกมา ค่าดัชนี ITA อยู่ระหว่าง 0-100 ถ้าหน่วยงานใดมีค่าระดับ ITA เข้าใกล้ 100 แสดงว่าหน่วยงานนั้น มีระดับคุณธรรมและความโปร่งใสการดำเนินงานสูงมาก ขณะที่ค่า ITA เข้าใกล้ 0 ก็แสดงว่า หน่วยงานรัฐนั้นมีระดับความโปร่งใสของการดำเนินงานและคุณธรรมต่ำมาก
ปัจจุบัน เกณฑ์การให้ค่าคะแนน ITA แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ
- สูงมาก (80-100)
- สูง (60-79.99)
- ปานกลาง (40-59.99)
- ต่ำ (20-39.99)
- ต่ำมาก (0-19.99)
การรวบรวมข้อมูลการประเมินมีที่มาทั้งจากบุคคลภายนอก บุคคลภายใน เก็บหลักฐานเชิงประจักษ์ ( Evidence Base ) และใช้ข้อมูลตัวชี้วัดที่หน่วยงานอื่นรวบรวมและดำเนินการเป็นดัชนี อาจกล่าวได้ว่า ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา สำนักงาน ป.ป.ช. พยายามพัฒนาและปรับปรุงตัวชี้วัดเพื่อประเมินความโปร่งใสและคุณธรรมของหน่วยงานภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งดัชนี ITA จะมีประโยชน์ก็ต่อเมื่อ " ผู้เห็นคุณค่า " ของมันนำไปกำหนดนโยบายต่อต้านคอร์รัปชัน หรือ กำหนดพื้นที่ความเสี่ยงสำหรับหน่วยงานที่ทำหน้าที่ตรวจสอบ เช่น สตง. ซึ่งหากทำได้จะเป็นการ " บูรณาการการต่อต้านคอร์รัปชัน " ที่ไม่ได้เป็นแค่เพียง " วาทกรรม " หรูๆ แต่ทำอะไรไม่ได้จริง การต่อต้านคอร์รัปชันมิใช่ การต่อต้านด้วยวาทกรรมแบบ " ไร้เดียงสา " ที่มองว่า ปัญหาคอร์รัปชันเป็นแค่เรื่องของคนชั่วเพียงอย่างเดียว พฤติการณ์คอร์รัปชันมีความลึกซึ้งละเอียดอ่อน เกี่ยวข้องกับการวางกลไกควบคุม ล้อมกรอบ และจำกัดปัญหาไม่ให้ลุกลามบานปลาย โดยอาศัยความรู้เป็นเครื่องนำทาง มิใช่เอาแต่อารมณ์เคียดขึ้งชิงชังป็นตัวนำ เพราะการใช้ " สติปัญญา " ในการแก้ปัญหา คือที่มาของการแก้ปัญหาของสังคมที่เจริญแล้ว
ตัวชี้วัดที่ 1 : การเปิดเผยข้อมูล
EB 1 : หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการ และวางระบบการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจ ที่แสดงถึงการกำหนดมาตรการ และการวางระบบ ในการดำเนินการ ที่กำหนดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน รายละเอียดมีดังนี้
1. มีคำสั่งอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน
1.1 สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คำสั่งอย่างเป็นทางการนั้น ได้จากกลไกการกำกับ ติดตาม ปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงานเผยแพร่ข้อมูลอย่างต่อเนื่องของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยใช้
1.1.1 คำสั่งเดิม (กรณีไม่เปลี่ยนแปลงผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน)
1.1.2 ทบทวนคำสั่งใหม่ (กรณีเปลี่ยนแปลงผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน)
2. มีกรอบแนวทางการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน จะต้องมีรายละเอียด
2.1 มีลักษณะ / ประเภทข้อมูลที่หน่วยงานต้องเผยแพร่ต่อสาธารณะ
2.2 มีการระบุวิธีการ ขั้นตอนการดำเนินงาน ระบุเวลาการดำเนินการ และผู้มีหน้าที่ รับผิดชอบในการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะอย่างชัดเจน
2.3 มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตามการดำเนินงานเผยแพร่ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ในลักษณะการรายงานผลการติดตามการดำเนินงาน และสรุปปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเผยแพร่ข้อมูล ต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
3. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำคำสั่งและกรอบแนวทางไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจ ที่แสดงถึงการกำหนดมาตรการ และการวางระบบ ในการดำเนินการ ที่กำหนดให้มีการเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน รายละเอียดมีดังนี้
1. มีคำสั่งอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน
1.1 สำหรับปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 คำสั่งอย่างเป็นทางการนั้น ได้จากกลไกการกำกับ ติดตาม ปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงานเผยแพร่ข้อมูลอย่างต่อเนื่องของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยใช้
1.1.1 คำสั่งเดิม (กรณีไม่เปลี่ยนแปลงผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน)
1.1.2 ทบทวนคำสั่งใหม่ (กรณีเปลี่ยนแปลงผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน)
2. มีกรอบแนวทางการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน จะต้องมีรายละเอียด
2.1 มีลักษณะ / ประเภทข้อมูลที่หน่วยงานต้องเผยแพร่ต่อสาธารณะ
2.2 มีการระบุวิธีการ ขั้นตอนการดำเนินงาน ระบุเวลาการดำเนินการ และผู้มีหน้าที่ รับผิดชอบในการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะอย่างชัดเจน
2.3 มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตามการดำเนินงานเผยแพร่ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ในลักษณะการรายงานผลการติดตามการดำเนินงาน และสรุปปัญหาอุปสรรคการดำเนินงานเผยแพร่ข้อมูล ต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
3. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำคำสั่งและกรอบแนวทางไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 1
EB 2 : หน่วยงานมีการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็นปัจจุบัน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมิน และหลักฐานที่ต้องมีในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจ จาก Link ที่หน่วยรับตรวจได้แสดงหลักฐานจากเว็บไซต์ ของหน่วยงานในระบบ MITAS ที่ต้องแนบแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์หน่วยงาน ข้อ 1 ถึงข้อ 11 รายละเอียดมีดังนี้
1. ข้อมูลพื้นฐานที่เป็นปัจจุบัน ประกอบด้วย
1.1 ข้อมูลผู้บริหาร แสดงรายนามของผู้บริหารของหน่วยงาน ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง รูปถ่าย หมายเลขโทรศัพท์
1.2 นโยบายของผู้บริหาร
1.3 โครงสร้างหน่วยงาน
1.4 หน้าที่และอำนาจของหน่วยงานตามกฎหมายจัดตั้ง หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
1.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน หรือการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
1.6 ข่าวประชาสัมพันธ์ ที่แสดงข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการดำเนินงานตามหน้าที่และอำนาจ และภารกิจของหน่วยงาน และเป็นข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1.7 ข้อมูลการติดต่อ ประกอบด้วย ที่อยู่หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรสาร ที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ แผนที่ตั้งหน่วยงาน
1.8 ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น ที่บุคคลภายนอกสามารถแสดงความคิดเห็น ต่อการดำเนินงานตามหน้าที่และอำนาจตามภารกิจของหน่วยงาน
1.9 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม MOPH
1.10 ยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยรวม
1.11 พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
1.12 ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2552
1.13 ข้อบังคับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยจรรยาข้าราชการสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560
1.14 อินโฟกราฟฟิกคณะกรรมการจริยธรรม ประจำสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขชุดปัจจุบัน
1.15 จรรยาบรรณกระทรวงสาธารณสุข (MOPH Code of Conduct)
2. นโยบายและยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน
3. แผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน (แผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน ทุกแผน)
4. แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงาน และการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงาน
5. หลักเกณ ฑ์ / ขั้นตอนการแก้ไขปัญหาในกรณี ที่ มีการร้องเรียนเรื่องการปฏิบัติงาน หรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่
6. หลักเกณฑ์ / ขั้นตอนการแก้ไขปัญหาในกรณีที่มีการร้องเรียนเรื่องการทุจริตและประพฤติมิชอบ
7. รายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ
8. รายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
9. ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง ประกอบด้วย
9.1 การวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563)
9.2 แผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปี
9.3 ผลการดำเนินการตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีประจำปี ตามรอบระยะเวลาที่กำหนดในกรอบแนวทาง
9.4 ประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบ บุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจในการจัดซื้อจัดจ้าง ของหน่วยงานในการเปิดเผยข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่
9.5 แบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (แบบ สขร. 1)
10. คู่มือการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุนของหน่วยงาน
11. คู่มือขั้นตอนการให้บริการ (ภารกิจให้บริการประชาชนตามพระราชบัญญัติการอํานวย ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558) (ถ้ามี)
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจ จาก Link ที่หน่วยรับตรวจได้แสดงหลักฐานจากเว็บไซต์ ของหน่วยงานในระบบ MITAS ที่ต้องแนบแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์หน่วยงาน ข้อ 1 ถึงข้อ 11 รายละเอียดมีดังนี้
1. ข้อมูลพื้นฐานที่เป็นปัจจุบัน ประกอบด้วย
1.1 ข้อมูลผู้บริหาร แสดงรายนามของผู้บริหารของหน่วยงาน ประกอบด้วย ชื่อ-นามสกุล ตำแหน่ง รูปถ่าย หมายเลขโทรศัพท์
1.2 นโยบายของผู้บริหาร
1.3 โครงสร้างหน่วยงาน
1.4 หน้าที่และอำนาจของหน่วยงานตามกฎหมายจัดตั้ง หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
1.5 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน หรือการปฏิบัติงานของหน่วยงาน
1.6 ข่าวประชาสัมพันธ์ ที่แสดงข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวกับการดำเนินงานตามหน้าที่และอำนาจ และภารกิจของหน่วยงาน และเป็นข้อมูลข่าวสารที่เกิดขึ้นในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1.7 ข้อมูลการติดต่อ ประกอบด้วย ที่อยู่หน่วยงาน หมายเลขโทรศัพท์ หมายเลขโทรสาร ที่อยู่ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ แผนที่ตั้งหน่วยงาน
1.8 ช่องทางการรับฟังความคิดเห็น ที่บุคคลภายนอกสามารถแสดงความคิดเห็น ต่อการดำเนินงานตามหน้าที่และอำนาจตามภารกิจของหน่วยงาน
1.9 วิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม MOPH
1.10 ยุทธศาสตร์ของประเทศ โดยรวม
1.11 พระราชบัญญัติมาตรฐานทางจริยธรรม พ.ศ. 2562
1.12 ประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2552
1.13 ข้อบังคับสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยจรรยาข้าราชการสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2560
1.14 อินโฟกราฟฟิกคณะกรรมการจริยธรรม ประจำสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขชุดปัจจุบัน
1.15 จรรยาบรรณกระทรวงสาธารณสุข (MOPH Code of Conduct)
2. นโยบายและยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน
3. แผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน และการติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน (แผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน ทุกแผน)
4. แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงาน และการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีของหน่วยงาน
5. หลักเกณ ฑ์ / ขั้นตอนการแก้ไขปัญหาในกรณี ที่ มีการร้องเรียนเรื่องการปฏิบัติงาน หรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่
6. หลักเกณฑ์ / ขั้นตอนการแก้ไขปัญหาในกรณีที่มีการร้องเรียนเรื่องการทุจริตและประพฤติมิชอบ
7. รายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการ
8. รายงานผลการดำเนินการเกี่ยวกับเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
9. ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง ประกอบด้วย
9.1 การวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีที่ผ่านมา (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563)
9.2 แผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปี
9.3 ผลการดำเนินการตามแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีประจำปี ตามรอบระยะเวลาที่กำหนดในกรอบแนวทาง
9.4 ประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบ บุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจในการจัดซื้อจัดจ้าง ของหน่วยงานในการเปิดเผยข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่
9.5 แบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (แบบ สขร. 1)
10. คู่มือการปฏิบัติงานตามภารกิจหลักและภารกิจสนับสนุนของหน่วยงาน
11. คู่มือขั้นตอนการให้บริการ (ภารกิจให้บริการประชาชนตามพระราชบัญญัติการอํานวย ความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558) (ถ้ามี)
เอกสาร EB 2
ตัวชี้วัดที่ 2 : การจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ
EB 3 : หน่วยงานมีรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจว่ามีหลักฐานรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้าง และมีการเสนอรายงานต่อผู้บังคับบัญชา รายละเอียดมีดังนี้
1. ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์นั้น จะต้องประกอบด้วย งบประมาณภาพรวมของหน่วยงาน โดยจำแนกเป็นรายหมวด แสดงให้เห็นว่าในหมวดที่มีรายการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ และแสดง เปรียบเทียบให้เห็นสัดส่วนของการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ แต่ละประเภท และเปรียบเทียบกับ งบประมาณที่ตั้งไว้ และใช้จ่ายจริงในแต่ละรายการ เป็นการวิเคราะห์ความสุ่มเสี่ยงในการทุจริต และเป็นข้อมูล ในการวางแผนการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ในปีงบประมาณถัดไป จะต้อง ประกอบด้วย
1.1 ร้อยละของจำนวนรายการที่ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
1.2 ร้อยละของจำนวนงบประมาณที่ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
2. มีผลวิเคราะห์การจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีที่ผ่านมา โดยได้นำข้อมูล ที่ได้ทั้งหมดตามข้อ 1. มาจัดทำเป็นรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ครบทั้งองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ คือ
2.1 การวิเคราะห์ความเสี่ยง
2.2 การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค / ข้อจำกัด
2.3 การวิเคราะห์ความสามารถในการประหยัดงบประมาณ
2.4 แนวทางแก้ไขและปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ที่จะนำไปสู่ การปรับปรุงการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
3. มีการเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยแสดงหลักฐานที่นำไปปรับปรุงให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการหรืออนุญาตให้นำรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อ จัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์ม การเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจว่ามีหลักฐานรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้าง และมีการเสนอรายงานต่อผู้บังคับบัญชา รายละเอียดมีดังนี้
1. ข้อมูลที่นำมาวิเคราะห์นั้น จะต้องประกอบด้วย งบประมาณภาพรวมของหน่วยงาน โดยจำแนกเป็นรายหมวด แสดงให้เห็นว่าในหมวดที่มีรายการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ และแสดง เปรียบเทียบให้เห็นสัดส่วนของการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ แต่ละประเภท และเปรียบเทียบกับ งบประมาณที่ตั้งไว้ และใช้จ่ายจริงในแต่ละรายการ เป็นการวิเคราะห์ความสุ่มเสี่ยงในการทุจริต และเป็นข้อมูล ในการวางแผนการจัดทำแผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ในปีงบประมาณถัดไป จะต้อง ประกอบด้วย
1.1 ร้อยละของจำนวนรายการที่ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
1.2 ร้อยละของจำนวนงบประมาณที่ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างแล้วเสร็จในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 จำแนกตามวิธีการจัดซื้อจัดจ้าง
2. มีผลวิเคราะห์การจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปีที่ผ่านมา โดยได้นำข้อมูล ที่ได้ทั้งหมดตามข้อ 1. มาจัดทำเป็นรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2563 ครบทั้งองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ คือ
2.1 การวิเคราะห์ความเสี่ยง
2.2 การวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรค / ข้อจำกัด
2.3 การวิเคราะห์ความสามารถในการประหยัดงบประมาณ
2.4 แนวทางแก้ไขและปรับปรุงกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ที่จะนำไปสู่ การปรับปรุงการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
3. มีการเสนอรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปสู่การปรับปรุงการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยแสดงหลักฐานที่นำไปปรับปรุงให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการหรืออนุญาตให้นำรายงานการวิเคราะห์ผลการจัดซื้อ จัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์ม การเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 3
EB 4 : หน่วยงานมีมาตรการ และวางระบบเพื่อส่งเสริมความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้าง และการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจ ได้แก่ มาตรการ และการวางระบบการดำเนินการ เพื่อส่งเสริม ความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปี ตามมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติว่า “ ให้หน่วยงานของรัฐ จัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี และประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง และของหน่วยงานของรัฐ ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด และให้ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่ ปิดประกาศของหน่วยงานของรัฐนั้น ... ” ประกอบด้วย (1) ชื่อโครงการ / รายการที่จะซื้อจ้าง (2) วงเงิน ที่จะจัดซื้อจัดจ้างโดยประมาณ และ (3) ระยะเวลาที่คาดว่าจะจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยงานจะต้องจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ในหมวดงบประมาณที่กำหนดดังนี้
1.1 งบดำเนินงาน
- งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1.2 งบลงทุน
- งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- งบเงินอุดหนุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- งบรายงายจ่ายอื่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง จะต้องแสดงรายละเอียดครบทั้ง 3 รายการ ตามข้อ 1. ประกอบด้วย (1) ชื่อโครงการ / รายการที่จะซื้อจ้าง (2) วงเงินที่จะจัดซื้อจัดจ้างโดยประมาณ และ (3) ระยะเวลาที่คาดว่า จะจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยงานต้องประกาศเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ภายใน 30 วันทำการ หลังจากที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ โดยระบุวันที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในการอธิบายข้อคำถาม และวันที่ที่ได้ทำการประกาศเผยแพร่ให้ชัดเจน และต้องมีหนังสือแจ้งการจัดสรรงบประมาณประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบการพิจารณา
2. มีการเผยแพร่ผลของแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปี ของหน่วยงาน อย่างเป็นระบบ ตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติว่า “หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีการบันทึกรายงานผลการพิจารณารายละเอียดวิธีการ และขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง และจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อประโยชน์ในการตรวจดูข้อมูล เมื่อมีการร้องขอ ประกอบด้วย (1) ชื่อโครงการ / รายการที่ได้ซื้อจ้างแล้ว (2) วงเงินที่ได้จัดซื้อจัดจ้าง (3) ระยะเวลาที่ได้จัดซื้อจัดจ้าง และ (4) วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ดำเนินการรายงานผลตามแผนจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีของหน่วยงาน ตามรอบระยะเวลาที่กำหนดดังนี้
- งบลงทุน ทุกไตรมาส
- งบดำเนินงาน ทุก 6 เดือน
ระบบข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ต้องสามารถสอบทานกลับได้ เพื่อตรวจสอบความมีอยู่จริงของระบบและข้อมูลที่นำมาใช้ประกอบการประเมิน
3. มีการป้องกันผู้ที่มีหน้าที่ดำเนินการในการจัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญา ตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติว่า ในการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้ที่มีหน้าที่ดำเนินการต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กับผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญาในงานนั้น
3.1 ใช้หนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ด่วนที่สุด ที่ สธ 0217/ว 3001 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2560 เรื่อง ขอส่งประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจ ในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานในการเปิดเผยข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ และผู้ตรวจรับพัสดุ จำนวน 2 แบบ คือ วงเงินเล็กน้อยไม่เกิน 100,000 บาท และวงเงินเกิน 100,000 บาท
3.2 มีวิธีการหรือกระบวนการตรวจสอบถึงความเกี่ยวข้องระหว่างเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับ การจัดซื้อจัดจ้าง และผู้เสนองาน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนจะต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม มีการสั่งการจากผู้บริหาร และนำไปปฏิบัติจริง
3.3 มีกระบวนการ ควบคุม กำกับ และสอบทาน โดยมีการสั่งการจากผู้บริหารและปฏิบัติจริง ในหน่วยงาน และแสดงหลักฐานชุดใบสำคัญการเบิกจ่ายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่มีการประกาศสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อ จัดจ้าง พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงาน ในการเปิดเผยข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ และผู้ตรวจรับพัสดุ
- ชุดใบสำคัญ 2 ชุด แสดงในทุกไตรมาส ๆ
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการโดยอนุญาตให้นำข้อ 1. ข้อ 2. และข้อ 3. ไปเผยแพร่ ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจ ได้แก่ มาตรการ และการวางระบบการดำเนินการ เพื่อส่งเสริม ความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปี ตามมาตรา 11 แห่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติว่า “ ให้หน่วยงานของรัฐ จัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี และประกาศเผยแพร่ในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง และของหน่วยงานของรัฐ ตามวิธีการที่กรมบัญชีกลางกำหนด และให้ปิดประกาศโดยเปิดเผย ณ สถานที่ ปิดประกาศของหน่วยงานของรัฐนั้น ... ” ประกอบด้วย (1) ชื่อโครงการ / รายการที่จะซื้อจ้าง (2) วงเงิน ที่จะจัดซื้อจัดจ้างโดยประมาณ และ (3) ระยะเวลาที่คาดว่าจะจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยงานจะต้องจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ในหมวดงบประมาณที่กำหนดดังนี้
1.1 งบดำเนินงาน
- งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1.2 งบลงทุน
- งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- งบเงินอุดหนุน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- งบรายงายจ่ายอื่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- เงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้าง จะต้องแสดงรายละเอียดครบทั้ง 3 รายการ ตามข้อ 1. ประกอบด้วย (1) ชื่อโครงการ / รายการที่จะซื้อจ้าง (2) วงเงินที่จะจัดซื้อจัดจ้างโดยประมาณ และ (3) ระยะเวลาที่คาดว่า จะจัดซื้อจัดจ้าง หน่วยงานต้องประกาศเผยแพร่แผนการจัดซื้อจัดจ้างประจำปี ภายใน 30 วันทำการ หลังจากที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ โดยระบุวันที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณในการอธิบายข้อคำถาม และวันที่ที่ได้ทำการประกาศเผยแพร่ให้ชัดเจน และต้องมีหนังสือแจ้งการจัดสรรงบประมาณประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564 ประกอบการพิจารณา
2. มีการเผยแพร่ผลของแผนการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุประจำปี ของหน่วยงาน อย่างเป็นระบบ ตามมาตรา 12 แห่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติว่า “หน่วยงานของรัฐต้องจัดให้มีการบันทึกรายงานผลการพิจารณารายละเอียดวิธีการ และขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง และจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ เพื่อประโยชน์ในการตรวจดูข้อมูล เมื่อมีการร้องขอ ประกอบด้วย (1) ชื่อโครงการ / รายการที่ได้ซื้อจ้างแล้ว (2) วงเงินที่ได้จัดซื้อจัดจ้าง (3) ระยะเวลาที่ได้จัดซื้อจัดจ้าง และ (4) วิธีการจัดซื้อจัดจ้าง ดำเนินการรายงานผลตามแผนจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ประจำปีของหน่วยงาน ตามรอบระยะเวลาที่กำหนดดังนี้
- งบลงทุน ทุกไตรมาส
- งบดำเนินงาน ทุก 6 เดือน
ระบบข้อมูลเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุ ต้องสามารถสอบทานกลับได้ เพื่อตรวจสอบความมีอยู่จริงของระบบและข้อมูลที่นำมาใช้ประกอบการประเมิน
3. มีการป้องกันผู้ที่มีหน้าที่ดำเนินการในการจัดซื้อจัดจ้างเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญา ตามมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ที่บัญญัติว่า ในการจัดซื้อจัดจ้าง ผู้ที่มีหน้าที่ดำเนินการต้องไม่เป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย กับผู้ยื่นข้อเสนอหรือคู่สัญญาในงานนั้น
3.1 ใช้หนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ด่วนที่สุด ที่ สธ 0217/ว 3001 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2560 เรื่อง ขอส่งประกาศสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อจัดจ้าง พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจ ในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานในการเปิดเผยข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ และผู้ตรวจรับพัสดุ จำนวน 2 แบบ คือ วงเงินเล็กน้อยไม่เกิน 100,000 บาท และวงเงินเกิน 100,000 บาท
3.2 มีวิธีการหรือกระบวนการตรวจสอบถึงความเกี่ยวข้องระหว่างเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับ การจัดซื้อจัดจ้าง และผู้เสนองาน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนจะต้องมีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม มีการสั่งการจากผู้บริหาร และนำไปปฏิบัติจริง
3.3 มีกระบวนการ ควบคุม กำกับ และสอบทาน โดยมีการสั่งการจากผู้บริหารและปฏิบัติจริง ในหน่วยงาน และแสดงหลักฐานชุดใบสำคัญการเบิกจ่ายของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่มีการประกาศสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยแนวทางปฏิบัติงานเพื่อตรวจสอบบุคลากรในหน่วยงานด้านการจัดซื้อ จัดจ้าง พ.ศ. 2560 ลงวันที่ 12 ตุลาคม 2560 และแบบแสดงความบริสุทธิ์ใจในการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงาน ในการเปิดเผยข้อมูลความขัดแย้งทางผลประโยชน์ของหัวหน้าเจ้าหน้าที่ เจ้าหน้าที่ และผู้ตรวจรับพัสดุ
- ชุดใบสำคัญ 2 ชุด แสดงในทุกไตรมาส ๆ
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการโดยอนุญาตให้นำข้อ 1. ข้อ 2. และข้อ 3. ไปเผยแพร่ ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 4
EB 5 : หน่วยงานมีการสรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการเผยแพร่ข้อมูลการสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง และการจัดหาพัสดุรายเดือน ตามแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ซึ่งแบบสรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน (แบบ สขร. 1) หมายถึง แบบสรุปผล การจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุรายเตามประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เรื่อง กำหนด ข้อมูลข่าวสารตามเกณฑ์มาตรฐานความโปร่งใสและตัวชี้วัดความโปร่งใสของหน่วยงานของรัฐเป็นข้อมู ล ข่าวสารที่ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (8) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ข้อ 1 (5) บัญญัติว่า หน่วยงานภาครัฐต้องสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือนตามมาตรา 9(8) ที่เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2560 ที่มีมติให้หน่วยงานภาครัฐถือปฏิบัติและดำเนินการอย่างเคร่งครัด เนื้อหาประกอบด้วย (1) งานที่จัดซื้อหรือจัดจ้าง (2) วงเงินที่จัดซื้อหรือจัดจ้าง (3) ราคากลาง (4) วิธีซื้อหรือจ้าง (5) รายชื่อผู้เสนอราคาและราคาที่เสนอ (6) ผู้ได้รับการคัดเลือกและราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (7) เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป และ (8) เลขที่และวันที่ของสัญญา หรือข้อตกลงในการซื้อหรือจ้าง
ราคากลาง หมายถึง ราคากลางและการคำนวณราคากลางเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานของรัฐ เป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 มาตรา 63 บัญญัติให้ภายใต้ข้อบังคับมาตรา 62 ให้หน่วยงานของรัฐประกาศราคากลาง รายละเอียดข้อมูลราคากลางและการคำนวณราคากลางในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง ตามวิธีการ ที่กรมบัญชีกลางกำหนด ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0405.3/ว 453 ลงวันที่ 3 ตุลาคม 2561 และหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0505.3/ว 132 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2561 รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานแสดงถึงการเผยแพร่ข้อมูลการสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุรายเดือน ตามแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ในทุกๆ ไตรมาส ดังนี้
ไตรมาสที่ 1 แสดงแบบ สขร. 1 เดือนตุลาคม 2563 - ธันวาคม 2563
ไตรมาสที่ 2 แสดงแบบ สขร. 1 เดือนมกราคม 2564 - มีนาคม 2564
ไตรมาสที่ 3 แสดงแบบ สขร. 1 เดือนเมษายน 2564 - มิถุนายน 2564
ไตรมาสที่ 4 แสดงแบบ สขร. 1 เดือนกรกฎาคม 2564 - กันยายน 2564
ในไตรมาสที่ 4 ตัดในวันที่หน่วยรับตรวจส่งประเมินและหน่วยงานนำแบบ สขร. 1 เดือนกันยายน 2564 ที่เสร็จสมบูรณ์ เผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงานอีกครั้ง
2. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำแบบสรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการเผยแพร่ข้อมูลการสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง และการจัดหาพัสดุรายเดือน ตามแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ซึ่งแบบสรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน (แบบ สขร. 1) หมายถึง แบบสรุปผล การจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุรายเตามประกาศคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ เรื่อง กำหนด ข้อมูลข่าวสารตามเกณฑ์มาตรฐานความโปร่งใสและตัวชี้วัดความโปร่งใสของหน่วยงานของรัฐเป็นข้อมู ล ข่าวสารที่ต้องจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดูได้ตามมาตรา 9 วรรคหนึ่ง (8) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ข้อ 1 (5) บัญญัติว่า หน่วยงานภาครัฐต้องสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือนตามมาตรา 9(8) ที่เป็นไปตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2560 ที่มีมติให้หน่วยงานภาครัฐถือปฏิบัติและดำเนินการอย่างเคร่งครัด เนื้อหาประกอบด้วย (1) งานที่จัดซื้อหรือจัดจ้าง (2) วงเงินที่จัดซื้อหรือจัดจ้าง (3) ราคากลาง (4) วิธีซื้อหรือจ้าง (5) รายชื่อผู้เสนอราคาและราคาที่เสนอ (6) ผู้ได้รับการคัดเลือกและราคาที่ตกลงซื้อหรือจ้าง (7) เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป และ (8) เลขที่และวันที่ของสัญญา หรือข้อตกลงในการซื้อหรือจ้าง
ราคากลาง หมายถึง ราคากลางและการคำนวณราคากลางเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างราคากลาง เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานของรัฐ เป็นไปตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ ภาครัฐ พ.ศ. 2560 มาตรา 63 บัญญัติให้ภายใต้ข้อบังคับมาตรา 62 ให้หน่วยงานของรัฐประกาศราคากลาง รายละเอียดข้อมูลราคากลางและการคำนวณราคากลางในระบบเครือข่ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลาง ตามวิธีการ ที่กรมบัญชีกลางกำหนด ตามหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0405.3/ว 453 ลงวันที่ 3 ตุลาคม 2561 และหนังสือกรมบัญชีกลาง ด่วนที่สุด ที่ กค 0505.3/ว 132 ลงวันที่ 14 มีนาคม 2561 รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานแสดงถึงการเผยแพร่ข้อมูลการสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างและการจัดหาพัสดุรายเดือน ตามแบบสรุปผลการจัดหาพัสดุในแต่ละรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ในทุกๆ ไตรมาส ดังนี้
ไตรมาสที่ 1 แสดงแบบ สขร. 1 เดือนตุลาคม 2563 - ธันวาคม 2563
ไตรมาสที่ 2 แสดงแบบ สขร. 1 เดือนมกราคม 2564 - มีนาคม 2564
ไตรมาสที่ 3 แสดงแบบ สขร. 1 เดือนเมษายน 2564 - มิถุนายน 2564
ไตรมาสที่ 4 แสดงแบบ สขร. 1 เดือนกรกฎาคม 2564 - กันยายน 2564
ในไตรมาสที่ 4 ตัดในวันที่หน่วยรับตรวจส่งประเมินและหน่วยงานนำแบบ สขร. 1 เดือนกันยายน 2564 ที่เสร็จสมบูรณ์ เผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงานอีกครั้ง
2. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำแบบสรุปผลการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน (แบบ สขร. 1) ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 5
ตัวชี้วัดที่ 3 : การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
EB 6 : ผู้บริหารแสดงนโยบายการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการเผยแพร่นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ที่ก่อให้เกิดการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีความโปร่งใสและมีคุณธรรม ลดการใช้ดุลพินิจที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายกำหนด ผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศของหน่วยงาน หรืออาจสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น รายละเอียดมีดังนี้
1. มีเนื้อหาที่แสดงถึงความมุ่งมั่นในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ก่อให้เกิดการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีความโปร่งใสและมีคุณธรรม
2. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้สั่งการให้นำนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่นหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการเผยแพร่นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ที่ก่อให้เกิดการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีความโปร่งใสและมีคุณธรรม ลดการใช้ดุลพินิจที่ไม่เป็นไปตามกฎหมายกำหนด ผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศของหน่วยงาน หรืออาจสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น รายละเอียดมีดังนี้
1. มีเนื้อหาที่แสดงถึงความมุ่งมั่นในการบริหารทรัพยากรบุคคลที่ก่อให้เกิดการบริหารทรัพยากรบุคคลที่มีความโปร่งใสและมีคุณธรรม
2. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้สั่งการให้นำนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคลของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่นหรือไม่
เอกสาร EB 6
EB 7 : หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการ และระบบการบริหารผลการปฏิบัติงานและการดำเนินการ กับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการกำหนดมาตรการ และระบบการบริหารผล การปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ รายละเอียดมีดังนี้
1. มีลักษณะเป็นคำสั่งหรือประกาศอย่างเป็นทางการโดยผู้บริหารสูงสุดระดับจังหวัด เป็นคำสั่งหรือประกาศอย่างเป็นทางการ โรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลชุมชน และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ใช้คำสั่งหรือประกาศอย่างเป็นทางการของจังหวัด
2. กำหนดกรอบแนวทางการบริหารผลการปฏิบัติงานและดำเนินการกับผู้มีผลการปฏิบัติงานที่ไม่ถึงเกณฑ์ โดยกำหนดให้มีระบบการรายงานหรือการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่องสำหรับผู้มีเกณฑ์การประเมินต่ำ (ต่ำกว่าค่าเป้าหมายหรือระดับที่คาดหวัง) ต้องมีการประกาศให้ผู้ที่มีคะแนนการประเมินต่ำทราบล่วงหน้า ซึ่งกรอบแนวทางการบริหารผลงานการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์ การปฏิบัติงานต่ำ มีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้
2.1 หลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงาน
2.2 หลักเกณฑ์การพิจารณาให้คุณหรือให้โทษต่อผู้ปฏิบัติงานตามผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงาน ในระดับต่าง ๆ รวมถึงวิธีการพัฒนา ผู้ที่มีผลการประเมินไม่ผ่านเกณฑ์
2.3 วิธีการ ขั้นตอน และผู้ที่เกี่ยวข้องในการบริหารผลการปฏิบัติงาน รายงานผลการดำเนินการ กับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำต่อผู้บังคับบัญชา
2.4 มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง
3. หากเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำกว่าค่าเป้าหมายหรือระดับที่คาดหวังรายใด ไม่เข้ารับการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำกว่าค่าเป้าหมายหรือระดับที่คาดหวัง หรือเข้ารับการพัฒนาแล้วแต่ยังคงมีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำกว่าค่าเป้าหมาย หรือระดับที่คาดหวัง ให้ดำเนินการตามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีการ ว่าด้วยการสั่งให้ออกจากราชการ กรณีไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล หรือการสั่งเลิกจ้าง เนื่องจากมีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการต่ำกว่าระดับที่กำหนด แล้วแต่ประเภทของเจ้าหน้าที่ อย่างเคร่งครัด ดังนี้
3.1 ข้าราชการ ให้ดำเนินการตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 110 (5) และกฎ ก.พ. ว่าด้วยการสั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญออกจากราชการกรณีไม่สามารถปฏิบัติราชการ ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล พ.ศ. 2552 ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1012/ว 10 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2552
3.2 ลูกจ้างประจำ ให้ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 ข้อ 60 (5) ซึ่งกำหนดให้ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ สั่งให้ลูกจ้างประจำที่ไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในระดับอันเป็นที่พอใจของทางราชการ ออกจากราชการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนโดยอนุโลม
3.3 พนักงานราชการ ให้ดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 ข้อ 19 และข้อ 20 และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เรื่อง แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ พ.ศ. 2554 และหลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2554 ตามหนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ 0201.034/ว 275 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2554
3.4 ลูกจ้างชั่วคราว ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของลูกจ้างชั่วคราวเงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง) สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2558 ตามหนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ด่วนที่สุด ที่ สธ 0201.034/ว 224 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2558
3.5 พนักงานกระทรวงสาธารณสุข ให้ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2556 ข้อ 23 และข้อ 24 และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ลงวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ว่าด้วยการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มค่าจ้างและต่อสัญญาจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557 หน่วยงานอาจมีการทบทวนคำสั่ง หรือประกาศอย่างเป็นทางการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หรือใช้คำสั่ง หรือประกาศอย่างเป็นทางการของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
4. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจให้ทราบทั่วทั้งองค์กร / หนังสือแจ้งเวียน หลักเกณฑ์และแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำกว่าค่าเป้าหมาย หรือระดับที่คาดหวัง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ไม่ใช้บังคับแก่เจ้าหน้าที่ ดังต่อไปนี้
1. ข้าราชการที่อยู่ระหว่างการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและการพัฒนาข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ พ.ศ. 2553
2. ข้าราชการที่มีระยะเวลาการปฏิบัติราชการในรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ที่จะทำการประเมินไม่ครบ 6 เดือน
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการกำหนดมาตรการ และระบบการบริหารผล การปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำ รายละเอียดมีดังนี้
1. มีลักษณะเป็นคำสั่งหรือประกาศอย่างเป็นทางการโดยผู้บริหารสูงสุดระดับจังหวัด เป็นคำสั่งหรือประกาศอย่างเป็นทางการ โรงพยาบาลศูนย์ / โรงพยาบาลทั่วไป / โรงพยาบาลชุมชน และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ใช้คำสั่งหรือประกาศอย่างเป็นทางการของจังหวัด
2. กำหนดกรอบแนวทางการบริหารผลการปฏิบัติงานและดำเนินการกับผู้มีผลการปฏิบัติงานที่ไม่ถึงเกณฑ์ โดยกำหนดให้มีระบบการรายงานหรือการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่องสำหรับผู้มีเกณฑ์การประเมินต่ำ (ต่ำกว่าค่าเป้าหมายหรือระดับที่คาดหวัง) ต้องมีการประกาศให้ผู้ที่มีคะแนนการประเมินต่ำทราบล่วงหน้า ซึ่งกรอบแนวทางการบริหารผลงานการปฏิบัติงานและการดำเนินการกับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์ การปฏิบัติงานต่ำ มีรายละเอียดอย่างน้อยดังนี้
2.1 หลักเกณฑ์การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงาน
2.2 หลักเกณฑ์การพิจารณาให้คุณหรือให้โทษต่อผู้ปฏิบัติงานตามผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงาน ในระดับต่าง ๆ รวมถึงวิธีการพัฒนา ผู้ที่มีผลการประเมินไม่ผ่านเกณฑ์
2.3 วิธีการ ขั้นตอน และผู้ที่เกี่ยวข้องในการบริหารผลการปฏิบัติงาน รายงานผลการดำเนินการ กับเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำต่อผู้บังคับบัญชา
2.4 มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง
3. หากเจ้าหน้าที่ผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำกว่าค่าเป้าหมายหรือระดับที่คาดหวังรายใด ไม่เข้ารับการพัฒนาตามหลักเกณฑ์และแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำกว่าค่าเป้าหมายหรือระดับที่คาดหวัง หรือเข้ารับการพัฒนาแล้วแต่ยังคงมีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำกว่าค่าเป้าหมาย หรือระดับที่คาดหวัง ให้ดำเนินการตามกฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ วิธีการ ว่าด้วยการสั่งให้ออกจากราชการ กรณีไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล หรือการสั่งเลิกจ้าง เนื่องจากมีคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติราชการต่ำกว่าระดับที่กำหนด แล้วแต่ประเภทของเจ้าหน้าที่ อย่างเคร่งครัด ดังนี้
3.1 ข้าราชการ ให้ดำเนินการตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 110 (5) และกฎ ก.พ. ว่าด้วยการสั่งให้ข้าราชการพลเรือนสามัญออกจากราชการกรณีไม่สามารถปฏิบัติราชการ ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล พ.ศ. 2552 ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1012/ว 10 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2552
3.2 ลูกจ้างประจำ ให้ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 ข้อ 60 (5) ซึ่งกำหนดให้ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ สั่งให้ลูกจ้างประจำที่ไม่สามารถปฏิบัติราชการให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลในระดับอันเป็นที่พอใจของทางราชการ ออกจากราชการ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนโดยอนุโลม
3.3 พนักงานราชการ ให้ดำเนินการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547 ข้อ 19 และข้อ 20 และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ลงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 เรื่อง แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการ พ.ศ. 2554 และหลักเกณฑ์และวิธีการ ประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2554 ตามหนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ที่ สธ 0201.034/ว 275 ลงวันที่ 21 ตุลาคม 2554
3.4 ลูกจ้างชั่วคราว ให้ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของลูกจ้างชั่วคราวเงินนอกงบประมาณ (เงินบำรุง) สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2558 ตามหนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ด่วนที่สุด ที่ สธ 0201.034/ว 224 ลงวันที่ 24 มีนาคม 2558
3.5 พนักงานกระทรวงสาธารณสุข ให้ดำเนินการตามระเบียบกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2556 ข้อ 23 และข้อ 24 และประกาศคณะกรรมการบริหารพนักงานกระทรวงสาธารณสุข ลงวันที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เรื่อง หลักเกณฑ์ว่าด้วยการประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มค่าจ้างและต่อสัญญาจ้างพนักงานกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557 หน่วยงานอาจมีการทบทวนคำสั่ง หรือประกาศอย่างเป็นทางการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หรือใช้คำสั่ง หรือประกาศอย่างเป็นทางการของปีงบประมาณ พ.ศ. 2563
4. ประชุมชี้แจงทำความเข้าใจให้ทราบทั่วทั้งองค์กร / หนังสือแจ้งเวียน หลักเกณฑ์และแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้มีผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานต่ำกว่าค่าเป้าหมาย หรือระดับที่คาดหวัง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนกลาง ไม่ใช้บังคับแก่เจ้าหน้าที่ ดังต่อไปนี้
1. ข้าราชการที่อยู่ระหว่างการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ ตามกฎ ก.พ. ว่าด้วยการทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการและการพัฒนาข้าราชการที่อยู่ระหว่างทดลองปฏิบัติหน้าที่ราชการ พ.ศ. 2553
2. ข้าราชการที่มีระยะเวลาการปฏิบัติราชการในรอบการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ที่จะทำการประเมินไม่ครบ 6 เดือน
เอกสาร EB 7
EB 8 : หน่วยงานมีการรายงานการประเมินและเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน และเปิดเผยผลการปฏิบัติราชการ ระดับดีเด่น และระดับดีมาก ในที่เปิดเผยให้ทราบ รอบปีงบประมาณที่ผ่านมา และรอบปีงบประมาณ
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจ ที่แสดงถึงการประกาศผลการปฏิบัติราชการในระดับดีเด่นและดีมากในที่เปิดเผยให้ทราบโดยทั่วกัน ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 76 บัญญัติให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชา เพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาแต่งตั้งและเลื่อนเงินเดือน เพื่อให้ผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการเป็นไปด้วย ความโปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1012/ว 20 ลงวันที่ 3 กันยายน 2552 ข้อ 9 (6) ที่ระบุ “ให้ผู้บังคับบัญชาตามข้อ 2 (ระบุ (1) ถึง (11) ประกาศรายชื่อข้าราชการพลเรือน สามัญผู้มีผลการปฏิบัติราชการในระดับดีเด่นและดีมากในที่เปิดเผยให้ทราบโดยทั่วกัน เพื่อเป็นการยกย่อง ชมเชย และสร้างแรงจูงใจให้พัฒนาผลการปฏิบัติราชการในรอบการประเมินต่อไปให้ดียิ่งขึ้น สำหรับ ส่วนราชการที่มีการกำหนดระดับผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการเกินกว่า 5 ระดับ ให้ผู้ประเมิน ประกาศรายชื่อผู้มีผลการปฏิบัติราชการอยู่ในระดับสูงกว่าระดับดีขึ้นไป ” นอกจากนี้ ต้องดำเนินการ ตามกฎหมายประเด็นการจ้างงาน ตามข้อ EB 7 ข้อ 3.1 ถึงข้อ 3.5 ประกอบด้วย ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และพนักงานกระทรวงสาธารณสุข รายละเอียดมีดังนี้
1. มีลักษณะเป็นประกาศอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน
2. ผู้บังคับบัญชาต้องสั่งการให้นำประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่นและดีมาก ไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
3. แสดงหลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก รอบปีงบประมาณที่ผ่านมา และรอบปีงบประมาณ โดยไม่คำนึงถึงคำสั่งการเลื่อนเงินเดือน
ไตรมาสที่ 1 หลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลฯ
รอบ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (เมษายน 2563 - กันยายน 2563)
ไตรมาสที่ 3 หลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลฯ
รอบ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564)
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจ ที่แสดงถึงการประกาศผลการปฏิบัติราชการในระดับดีเด่นและดีมากในที่เปิดเผยให้ทราบโดยทั่วกัน ที่เป็นไปตามพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. 2551 มาตรา 76 บัญญัติให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่ประเมินผลการปฏิบัติราชการของผู้ที่อยู่ใต้บังคับบัญชา เพื่อใช้ ประกอบการพิจารณาแต่งตั้งและเลื่อนเงินเดือน เพื่อให้ผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการเป็นไปด้วย ความโปร่งใส เป็นธรรม และตรวจสอบได้ ตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร 1012/ว 20 ลงวันที่ 3 กันยายน 2552 ข้อ 9 (6) ที่ระบุ “ให้ผู้บังคับบัญชาตามข้อ 2 (ระบุ (1) ถึง (11) ประกาศรายชื่อข้าราชการพลเรือน สามัญผู้มีผลการปฏิบัติราชการในระดับดีเด่นและดีมากในที่เปิดเผยให้ทราบโดยทั่วกัน เพื่อเป็นการยกย่อง ชมเชย และสร้างแรงจูงใจให้พัฒนาผลการปฏิบัติราชการในรอบการประเมินต่อไปให้ดียิ่งขึ้น สำหรับ ส่วนราชการที่มีการกำหนดระดับผลการประเมินผลการปฏิบัติราชการเกินกว่า 5 ระดับ ให้ผู้ประเมิน ประกาศรายชื่อผู้มีผลการปฏิบัติราชการอยู่ในระดับสูงกว่าระดับดีขึ้นไป ” นอกจากนี้ ต้องดำเนินการ ตามกฎหมายประเด็นการจ้างงาน ตามข้อ EB 7 ข้อ 3.1 ถึงข้อ 3.5 ประกอบด้วย ข้าราชการ ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ ลูกจ้างชั่วคราว และพนักงานกระทรวงสาธารณสุข รายละเอียดมีดังนี้
1. มีลักษณะเป็นประกาศอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน
2. ผู้บังคับบัญชาต้องสั่งการให้นำประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่นและดีมาก ไปเผยแพร่บนเว็บไซต์ของหน่วยงาน มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน
3. แสดงหลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลการปฏิบัติราชการประจำปีของบุคลากรในหน่วยงาน ระดับดีเด่น และดีมาก รอบปีงบประมาณที่ผ่านมา และรอบปีงบประมาณ โดยไม่คำนึงถึงคำสั่งการเลื่อนเงินเดือน
ไตรมาสที่ 1 หลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลฯ
รอบ 2 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 (เมษายน 2563 - กันยายน 2563)
ไตรมาสที่ 3 หลักฐานประกาศรายงานการประเมินผลฯ
รอบ 1 ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564)
เอกสาร EB 8
EB 9 : หน่วยงานมีการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการรักษาวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการจัดโครงการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้าง และพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย
2. รายชื่อผู้เข้าร่วมอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย สำนักงานสาธารณสุขอำเภอจะต้องนำเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ความรับผิดชอบเข้าร่วมการอบรมด้วย
3. รายงานผลการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย
4. ภาพกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมการอบรมที่ชัดเจน
5. หลักฐานผู้บังคับบัญชารับทราบผลการอบรมและสั่งการให้นำรายละเอียดตามข้อ 1. ถึงข้อ 4. เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการจัดโครงการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้าง และพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย
2. รายชื่อผู้เข้าร่วมอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย สำนักงานสาธารณสุขอำเภอจะต้องนำเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ความรับผิดชอบเข้าร่วมการอบรมด้วย
3. รายงานผลการอบรมให้ความรู้แก่เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานเกี่ยวกับการเสริมสร้างและพัฒนาทางด้านจริยธรรมและการมีวินัยรวมทั้งการป้องกันมิให้กระทำผิดวินัย
4. ภาพกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมการอบรมที่ชัดเจน
5. หลักฐานผู้บังคับบัญชารับทราบผลการอบรมและสั่งการให้นำรายละเอียดตามข้อ 1. ถึงข้อ 4. เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น
เอกสาร EB 9
ตัวชี้วัดที่ 4 : การส่งเสริมความโปร่งใส
EB 10 : หน่วยงานมีแนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียน และช่องทางการร้องเรียน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงแนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนของหน่วยงาน ในลักษณะคู่มือการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน และคู่มือการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ รายละเอียดตามคู่มือปฏิบัติการฯ มีดังนี้
1. แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนของหน่วยงาน ในลักษณะ (1) คู่มือการดำเนินงาน เรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน และ (2) คู่มือการดำเนินงาน เรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
1.1 ขั้นตอนของการปฏิบัติงาน
1.2 ส่วนงานที่รับผิดชอบ
1.3 ระยะเวลาการดำเนินการ
1.4 การตอบสนองต่อเรื่องร้องเรียน
1.5 วิธีการที่บุคคลภายนอกจะทำการร้องเรียน
1.6 ช่องทางการร้องเรียน
2. หน่วยงานส่งหลักฐานที่แสดงถึงช่องทางการร้องเรียน อาทิ ผ่านระบบหมายเลขโทรศัพท์ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ผ่านระบบไปรษณีย์ ผ่าน Application หรือช่องทางอื่นๆ ที่หน่วยงานกำหนดตามความเหมาะสม
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงแนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนของหน่วยงาน ในลักษณะคู่มือการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน และคู่มือการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ รายละเอียดตามคู่มือปฏิบัติการฯ มีดังนี้
1. แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนของหน่วยงาน ในลักษณะ (1) คู่มือการดำเนินงาน เรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน และ (2) คู่มือการดำเนินงาน เรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ
1.1 ขั้นตอนของการปฏิบัติงาน
1.2 ส่วนงานที่รับผิดชอบ
1.3 ระยะเวลาการดำเนินการ
1.4 การตอบสนองต่อเรื่องร้องเรียน
1.5 วิธีการที่บุคคลภายนอกจะทำการร้องเรียน
1.6 ช่องทางการร้องเรียน
2. หน่วยงานส่งหลักฐานที่แสดงถึงช่องทางการร้องเรียน อาทิ ผ่านระบบหมายเลขโทรศัพท์ ผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ผ่านระบบไปรษณีย์ ผ่าน Application หรือช่องทางอื่นๆ ที่หน่วยงานกำหนดตามความเหมาะสม
เอกสาร EB 10
EB 11 : หน่วยงานมีข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการสรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีรายละเอียดดังนี้
1. เรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน
2. เรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ การสรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนทั้ง 2 ประเด็น ต้องมี
2.1 การวิเคราะห์ปัญหา / อุปสรรค
2.2 แนวทางแก้ไข
2.3 รายงานต่อผู้บังคับบัญชา จำนวน 2 รอบการประเมิน คือ
- รอบ 6 เดือน
- รอบ 12 เดือน
3. กรณีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน่วยงานไม่มีเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน หรือเรื่องเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ หรือกรณีใดกรณีหนึ่ง หน่วยงานต้องจัดทำรายงานสรุปผลว่า หน่วยงานไม่มีเรื่องร้องเรียนในปีงบประมาณ หรือมีเพียงกรณีใดกรณีหนึ่ง
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการสรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนภายใน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 มีรายละเอียดดังนี้
1. เรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน
2. เรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ การสรุปผลการดำเนินงานเรื่องร้องเรียนทั้ง 2 ประเด็น ต้องมี
2.1 การวิเคราะห์ปัญหา / อุปสรรค
2.2 แนวทางแก้ไข
2.3 รายงานต่อผู้บังคับบัญชา จำนวน 2 รอบการประเมิน คือ
- รอบ 6 เดือน
- รอบ 12 เดือน
3. กรณีในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน่วยงานไม่มีเรื่องร้องเรียนการปฏิบัติงานหรือการให้บริการของเจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงาน หรือเรื่องเกี่ยวกับการทุจริตและประพฤติมิชอบ หรือกรณีใดกรณีหนึ่ง หน่วยงานต้องจัดทำรายงานสรุปผลว่า หน่วยงานไม่มีเรื่องร้องเรียนในปีงบประมาณ หรือมีเพียงกรณีใดกรณีหนึ่ง
เอกสาร EB 11
EB 12 : หน่วยงานของท่านเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ตามภารกิจของหน่วยงาน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงโครงการ / กิจกรรม ที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน
1. หลักฐานโครงการ / กิจกรรมที่ดำเนินการในไตรมาสที่ 1 และเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2. หลักฐานโครงการ / กิจกรรมที่แสดงให้เห็นถึงกระบวนการมีส่วนร่วม ตั้งแต่ (1) กระบวนการ มีส่วนร่วมในการวางแผน (2) กระบวนการมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (3) กระบวนการมีส่วนร่วม ในการดำเนินการ และ (4) กระบวนการมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล
3. หลักฐานแสดงการมีส่วนร่วมตามกระบวนการในข้อ 2. โดยจะต้องระบุรายละเอียดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เข้ามาร่วมในการดำเนินการในแต่ละขั้นตอนด้วย มีรายละเอียดดังนี้
3.1 รายงานการประชุม / สัมมนา ตามโครงการ / กิจกรรม มีการเสนอรายงานดังกล่าวต่อผู้บริหาร
3.2 รายงานการประชุม / สัมมนา มีการแสดงชื่อของผู้จดบันทึกการประชุม รวมทั้งจะต้องแสดงรายชื่อผู้เข้าร่วมการประชุมชัดเจน
3.3 รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ / กิจกรรม
4. ภาพกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมการอบรมที่ชัดเจน
5. ผู้พิจารณาว่าบังคับบัญชา ได้สั่งการหรืออนุญาตให้นำรายละเอียดการดำเนินงานไปเผยแพร่ ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานและมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่นหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงโครงการ / กิจกรรม ที่เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามภารกิจของหน่วยงาน
1. หลักฐานโครงการ / กิจกรรมที่ดำเนินการในไตรมาสที่ 1 และเสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2. หลักฐานโครงการ / กิจกรรมที่แสดงให้เห็นถึงกระบวนการมีส่วนร่วม ตั้งแต่ (1) กระบวนการ มีส่วนร่วมในการวางแผน (2) กระบวนการมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น (3) กระบวนการมีส่วนร่วม ในการดำเนินการ และ (4) กระบวนการมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล
3. หลักฐานแสดงการมีส่วนร่วมตามกระบวนการในข้อ 2. โดยจะต้องระบุรายละเอียดของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เข้ามาร่วมในการดำเนินการในแต่ละขั้นตอนด้วย มีรายละเอียดดังนี้
3.1 รายงานการประชุม / สัมมนา ตามโครงการ / กิจกรรม มีการเสนอรายงานดังกล่าวต่อผู้บริหาร
3.2 รายงานการประชุม / สัมมนา มีการแสดงชื่อของผู้จดบันทึกการประชุม รวมทั้งจะต้องแสดงรายชื่อผู้เข้าร่วมการประชุมชัดเจน
3.3 รายงานสรุปผลการดำเนินโครงการ / กิจกรรม
4. ภาพกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมการอบรมที่ชัดเจน
5. ผู้พิจารณาว่าบังคับบัญชา ได้สั่งการหรืออนุญาตให้นำรายละเอียดการดำเนินงานไปเผยแพร่ ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานและมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่นหรือไม่
เอกสาร EB 12
ตัวชี้วัดที่ 5 : การรับสินบน
EB 13 : หน่วยงานมีการกำหนดมาตรการและระบบในการป้องกันการรับสินบน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการกำหนดมาตรการและระบบในการป้องกันการรับสินบน รายละเอียดมีดังนี้
1. มีลักษณะเป็นคำสั่ง ประกาศ หรือข้อสั่งการอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน หรือผู้บริหารที่ได้รับมอบอำนาจ
2. มีกรอบแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบ ประเด็น ข้อ 2.1 ถึงข้อ 2.7 ดังนี้
2.1 มาตรการป้องกันการรับสินบนการให้และรับของขวัญแก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่หรือผู้บังคับบัญชาในเทศกาลปีใหม่
2.2 มาตรการป้องกันการรับสินบนในกระบวนการเบิกจ่ายยาตามสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2560 ที่กำหนดว่า
- ห้ามหน่วยบริการหรือหน่วยงานทำการจัดซื้อ ทำการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภท จากบริษัทยาหรือบริษัทเวชภัณฑ์มิใช่ยา เข้ากองทุนสวัสดิการของหน่วยบริการนั้น หน่วยงานประกาศใช้และดำเนินการตาม
- ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557
- ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. .... (อยู่ระหว่างลงนาม)
2.3 มาตรการป้องกันการรับสินบนในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
2.4 มาตรการป้องกันการรับสินบนประเด็นการเงินบริจาค และทรัพย์สินบริจาค
2.5 มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระทำผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ มาตรการการใช้รถราชการ มาตรการการเบิกค่าตอบแทน มาตรการการจัดทำโครงการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ประชุม และสัมมนาตามที่กฎหมายกำหนด และมาตรการการจัดหาพัสดุตามที่กฎหมายกำหนด
2.6 มาตรการแนวทางปฏิบัติในการรับส่วนแถมพิเศษ ส่วนชดเชย ส่วนสนับสนุน หรือส่วนอื่นใดเพิ่มเติมจากที่หน่วยงานของรัฐกำหนดไว้ในขอบเขตของงาน หรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2.7 มาตรการการจัดสวัสดิการภายในของสถานพยาบาล เฉพาะหน่วยงานที่มีกองทุนสวัสดิการภายในหน่วยงานส่วนภูมิภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่จังหวัดไม่มีคณะกรรมการสวัสดิการ และกองทุนสวัสดิการภายในหน่วยงานส่วนภูมิภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
3. มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตาม และรายงานสรุปผลต่อผู้บริหารเป็นระบบและต่อเนื่อง
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการและอนุมัติให้
4.1 นำมาตรการตามกรอบแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบ ประเด็นข้อ 2.1 ถึงข้อ 2.7 ที่มีกลไกการกำกับติดตาม ตามที่หน่วยงานกำหนด ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
4.2 นำรายงานสรุปผลต่อผู้บริหารเป็นระบบและต่อเนื่อง ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการกำหนดมาตรการและระบบในการป้องกันการรับสินบน รายละเอียดมีดังนี้
1. มีลักษณะเป็นคำสั่ง ประกาศ หรือข้อสั่งการอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน หรือผู้บริหารที่ได้รับมอบอำนาจ
2. มีกรอบแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบ ประเด็น ข้อ 2.1 ถึงข้อ 2.7 ดังนี้
2.1 มาตรการป้องกันการรับสินบนการให้และรับของขวัญแก่ข้าราชการชั้นผู้ใหญ่หรือผู้บังคับบัญชาในเทศกาลปีใหม่
2.2 มาตรการป้องกันการรับสินบนในกระบวนการเบิกจ่ายยาตามสิทธิสวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 12 กันยายน 2560 ที่กำหนดว่า
- ห้ามหน่วยบริการหรือหน่วยงานทำการจัดซื้อ ทำการหารายได้ในลักษณะผลประโยชน์ต่างตอบแทนทุกประเภท จากบริษัทยาหรือบริษัทเวชภัณฑ์มิใช่ยา เข้ากองทุนสวัสดิการของหน่วยบริการนั้น หน่วยงานประกาศใช้และดำเนินการตาม
- ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2557
- ประกาศกระทรวงสาธารณสุขว่าด้วยเกณฑ์จริยธรรมการจัดซื้อจัดหาและการส่งเสริมการขายยาและเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยาของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. .... (อยู่ระหว่างลงนาม)
2.3 มาตรการป้องกันการรับสินบนในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง
2.4 มาตรการป้องกันการรับสินบนประเด็นการเงินบริจาค และทรัพย์สินบริจาค
2.5 มาตรการป้องกันการทุจริต และแก้ไขการกระทำผิดวินัยของเจ้าหน้าที่รัฐในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ มาตรการการใช้รถราชการ มาตรการการเบิกค่าตอบแทน มาตรการการจัดทำโครงการฝึกอบรม ศึกษาดูงาน ประชุม และสัมมนาตามที่กฎหมายกำหนด และมาตรการการจัดหาพัสดุตามที่กฎหมายกำหนด
2.6 มาตรการแนวทางปฏิบัติในการรับส่วนแถมพิเศษ ส่วนชดเชย ส่วนสนับสนุน หรือส่วนอื่นใดเพิ่มเติมจากที่หน่วยงานของรัฐกำหนดไว้ในขอบเขตของงาน หรือรายละเอียดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
2.7 มาตรการการจัดสวัสดิการภายในของสถานพยาบาล เฉพาะหน่วยงานที่มีกองทุนสวัสดิการภายในหน่วยงานส่วนภูมิภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่จังหวัดไม่มีคณะกรรมการสวัสดิการ และกองทุนสวัสดิการภายในหน่วยงานส่วนภูมิภาค สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
3. มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตาม และรายงานสรุปผลต่อผู้บริหารเป็นระบบและต่อเนื่อง
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการและอนุมัติให้
4.1 นำมาตรการตามกรอบแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมในการป้องกันการรับสินบนทุกรูปแบบ ประเด็นข้อ 2.1 ถึงข้อ 2.7 ที่มีกลไกการกำกับติดตาม ตามที่หน่วยงานกำหนด ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
4.2 นำรายงานสรุปผลต่อผู้บริหารเป็นระบบและต่อเนื่อง ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 13
ตัวชี้วัดที่ 6 : การใช้ทรัพย์สินของราชการ
EB 14 : หน่วยงานมีการจัดทำแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้อง
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการ แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
1. มีลักษณะเป็นข้อสั่งการอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน
2. มีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุประเภทใช้คงรูประหว่างหน่วยงานของรัฐ ยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน และการยืมไปใช้นอกสถานที่ของหน่วยงานของรัฐ ที่มีผังกระบวนการยืมพัสดุประเภทคงรูปของเจ้าหน้าที่รัฐของหน่วยงาน ที่มีกลไกการกำกับติดตาม
3. มีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลืองระหว่างหน่วยงานของรัฐ ที่มีกลไกการกำกับติดตาม
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำแนวปฏิบัติ ฯ ตามข้อ 2. และข้อ 3 แจ้งเวียนให้ทุกหน่วยงานย่อย ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
5. พิจารณาว่าหน่วยรับตรวจ ได้นำแนวทางปฏิบัติฯ ตามข้อ 2. และ ข้อ 3. ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ วิธีการ แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
1. มีลักษณะเป็นข้อสั่งการอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน
2. มีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุประเภทใช้คงรูประหว่างหน่วยงานของรัฐ ยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน และการยืมไปใช้นอกสถานที่ของหน่วยงานของรัฐ ที่มีผังกระบวนการยืมพัสดุประเภทคงรูปของเจ้าหน้าที่รัฐของหน่วยงาน ที่มีกลไกการกำกับติดตาม
3. มีแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลืองระหว่างหน่วยงานของรัฐ ที่มีกลไกการกำกับติดตาม
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำแนวปฏิบัติ ฯ ตามข้อ 2. และข้อ 3 แจ้งเวียนให้ทุกหน่วยงานย่อย ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
5. พิจารณาว่าหน่วยรับตรวจ ได้นำแนวทางปฏิบัติฯ ตามข้อ 2. และ ข้อ 3. ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 14
EB 15 : หน่วยงานมีขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรัพย์สินของราชการไปใช้ปฏิบัติในหน่วยงาน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรัพย์สินของราชการไปใช้ปฏิบัติ ในหน่วยงาน แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ประกอบด้วย (1) การยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ระหว่าง หน่วยงานของรัฐ การให้บุคคลยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน และการยืมไปใช้นอกสถานที่ ของหน่วยงานของรัฐ และ (2) การยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลือง ระหว่างหน่วยงานของรัฐ
1. มีลักษณะเป็นข้อสั่งการอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน
2. มีแบบฟอร์มการยืมพัสดุทั้ง 2 ประเภท
3. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำแบบฟอร์มใบยืมพัสดุทั้ง 2 ประเภท แจ้งเวียนให้ทุกหน่วยงานย่อยถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
4. พิจารณาว่าหน่วยรับตรวจ ได้นำแบบฟอร์มการยืมพัสดุทั้ง 2 ประเภท ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรัพย์สินของราชการไปใช้ปฏิบัติ ในหน่วยงาน แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการยืมพัสดุ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ประกอบด้วย (1) การยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ระหว่าง หน่วยงานของรัฐ การให้บุคคลยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน และการยืมไปใช้นอกสถานที่ ของหน่วยงานของรัฐ และ (2) การยืมพัสดุประเภทใช้สิ้นเปลือง ระหว่างหน่วยงานของรัฐ
1. มีลักษณะเป็นข้อสั่งการอย่างเป็นทางการ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน
2. มีแบบฟอร์มการยืมพัสดุทั้ง 2 ประเภท
3. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำแบบฟอร์มใบยืมพัสดุทั้ง 2 ประเภท แจ้งเวียนให้ทุกหน่วยงานย่อยถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด
4. พิจารณาว่าหน่วยรับตรวจ ได้นำแบบฟอร์มการยืมพัสดุทั้ง 2 ประเภท ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 15
ตัวชี้วัดที่ 7 : การดำเนินงานเพื่อป้องกันการทุจริต
EB 16 : หน่วยงานมีการเผยแพร่เจตจำนงสุจริตของผู้บริหารต่อสาธารณชน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการเผยแพร่เจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุด ของหน่วยงานต่อสาธารณชน ผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศของหน่วยงาน หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น รายละเอียดมีดังนี้
1. มีเนื้อหาที่แสดงถึงความมุ่งมั่นในการบริหารงานให้สำเร็จตามพันธกิจของหน่วยงาน อย่างมีธรรมาภิบาล
2. เจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานต่อสาธารณชนโดยที่หน่วยรับตรวจ ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จในไตรมาสที่ 2 (ระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือนมีนาคม 2564)
3. ภาพถ่ายกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมที่ชัดเจน
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการอนุมัติให้นำประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่ หรือมีการสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่นร่วมด้วย
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการเผยแพร่เจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุด ของหน่วยงานต่อสาธารณชน ผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศของหน่วยงาน หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น รายละเอียดมีดังนี้
1. มีเนื้อหาที่แสดงถึงความมุ่งมั่นในการบริหารงานให้สำเร็จตามพันธกิจของหน่วยงาน อย่างมีธรรมาภิบาล
2. เจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานต่อสาธารณชนโดยที่หน่วยรับตรวจ ต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จในไตรมาสที่ 2 (ระยะเวลาตั้งแต่เดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือนมีนาคม 2564)
3. ภาพถ่ายกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมที่ชัดเจน
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการอนุมัติให้นำประกาศเจตจำนงสุจริตของผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่ หรือมีการสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่นร่วมด้วย
เอกสาร EB 16
EB 17 : หน่วยงานมีแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรม ประจำปีของหน่วยงาน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงแผนปฏิบัติการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีของหน่วยงาน และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมประจำปีของหน่วยงาน รายละเอียดมีดังนี้
1. แผนปฏิบัติการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีของหน่วยงาน ดำเนินการตามคู่มือแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผ่านความเห็นชอบและลงนามอนุมัติแผนปฏิบัติการฯ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ในเดือนพฤศจิกายน 2563 (ไม่ต้องส่งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข)
2. แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผ่านความเห็นชอบและลงนามอนุมัติแผนปฏิบัติการฯ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2563 โดยมี
2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขราชการบริหารส่วนภูมิภาคที่ลงนามโดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน (เป็นคำสั่งเดิม หรือมีการทบทวนคำสั่งกรณีมีการเปลี่ยนแปลง)
2.2 แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (แบบฟอร์มที่ 1) (แผน ฯ ข้อ 2. ส่งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์)
3. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำ
- แผนปฏิบัติการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีของหน่วยงาน
- แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมประจำปีของหน่วยงานที่ผ่านความเห็นชอบและลงนามอนุมัติแล้ว
ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงแผนปฏิบัติการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีของหน่วยงาน และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมประจำปีของหน่วยงาน รายละเอียดมีดังนี้
1. แผนปฏิบัติการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีของหน่วยงาน ดำเนินการตามคู่มือแนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผ่านความเห็นชอบและลงนามอนุมัติแผนปฏิบัติการฯ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ในเดือนพฤศจิกายน 2563 (ไม่ต้องส่งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข)
2. แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ที่ผ่านความเห็นชอบและลงนามอนุมัติแผนปฏิบัติการฯ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน ในวันที่ 16 พฤศจิกายน 2563 โดยมี
2.1 คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขราชการบริหารส่วนภูมิภาคที่ลงนามโดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงาน (เป็นคำสั่งเดิม หรือมีการทบทวนคำสั่งกรณีมีการเปลี่ยนแปลง)
2.2 แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (แบบฟอร์มที่ 1) (แผน ฯ ข้อ 2. ส่งศูนย์ปฏิบัติการต่อต้านการทุจริต กระทรวงสาธารณสุข ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์)
3. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำ
- แผนปฏิบัติการป้องกันปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีของหน่วยงาน
- แผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมประจำปีของหน่วยงานที่ผ่านความเห็นชอบและลงนามอนุมัติแล้ว
ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 17
EB 18 : หน่วยงานมีรายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปราม การทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีของหน่วยงาน และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรม ของชมรมจริยธรรม ประจำปีของหน่วยงาน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติ การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีของหน่วยงาน และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีของหน่วยงาน รายละเอียดมีดังนี้
1. ผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1.1 มีลักษณะเป็นรูปเล่มรายงาน
1.2 มีเนื้อหาที่แสดงถึงผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีของหน่วยงาน รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน
- รอบ 6 เดือน คือ เดือนมีนาคม 2564
- รอบ 12 เดือน คือ เดือนกันยายน 2564
1.3 ผู้บังคับบัญชา ต้องรับทราบ ผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีของหน่วยงาน
- รอบ 6 เดือน คือ เดือนมีนาคม 2564
- รอบ 12 เดือน คือ เดือนกันยายน 2564 ที่มีการสั่งการอนุญาตให้นำไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ ของหน่วยงาน
2. ผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรม ของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2.1 ดำเนินการตามแบบฟอร์มการรายงานและการติดตามประเมินผลฯ
- แบบฟอร์มที่ 2 แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- รอบ 6 เดือน คือ เดือนมีนาคม 2564 (วันที่ 16 มีนาคม 2564)
- รอบ 12 เดือน คือ เดือนกันยายน 2564 (วันที่ 15 กันยายน 2564)
- แบบฟอร์มที่ 3 แบบติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
- รอบ 6 เดือน คือ เดือนมีนาคม 2564 (วันที่ 16 มีนาคม 2564)
- รอบ 12 เดือน คือ เดือนกันยายน 2564 (วันที่ 15 กันยายน 2564) เป็นไปตามคู่มือการขับเคลื่อนชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จัดส่งตามปฏิทิน ที่กำหนดในคู่มือ ฯ ทุกประการ
2.2 พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้รับทราบผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามข้อ 1. และข้อ 2. สั่งการให้ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับ เขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติ การป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบประจำปีของหน่วยงาน และแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีของหน่วยงาน รายละเอียดมีดังนี้
1. ผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริต และประพฤติมิชอบ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
1.1 มีลักษณะเป็นรูปเล่มรายงาน
1.2 มีเนื้อหาที่แสดงถึงผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีของหน่วยงาน รอบ 6 เดือน และรอบ 12 เดือน
- รอบ 6 เดือน คือ เดือนมีนาคม 2564
- รอบ 12 เดือน คือ เดือนกันยายน 2564
1.3 ผู้บังคับบัญชา ต้องรับทราบ ผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปีของหน่วยงาน
- รอบ 6 เดือน คือ เดือนมีนาคม 2564
- รอบ 12 เดือน คือ เดือนกันยายน 2564 ที่มีการสั่งการอนุญาตให้นำไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ ของหน่วยงาน
2. ผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรม ของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2.1 ดำเนินการตามแบบฟอร์มการรายงานและการติดตามประเมินผลฯ
- แบบฟอร์มที่ 2 แบบรายงานผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
- รอบ 6 เดือน คือ เดือนมีนาคม 2564 (วันที่ 16 มีนาคม 2564)
- รอบ 12 เดือน คือ เดือนกันยายน 2564 (วันที่ 15 กันยายน 2564)
- แบบฟอร์มที่ 3 แบบติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการส่งเสริมคุณธรรมของชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2564
- รอบ 6 เดือน คือ เดือนมีนาคม 2564 (วันที่ 16 มีนาคม 2564)
- รอบ 12 เดือน คือ เดือนกันยายน 2564 (วันที่ 15 กันยายน 2564) เป็นไปตามคู่มือการขับเคลื่อนชมรมจริยธรรมของหน่วยงานในสังกัดสำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จัดส่งตามปฏิทิน ที่กำหนดในคู่มือ ฯ ทุกประการ
2.2 พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้รับทราบผลการกำกับติดตามการดำเนินการตามข้อ 1. และข้อ 2. สั่งการให้ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 18
ตัวชี้วัดที่ 8 : การป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน
EB 19 : หน่วยงานมีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจส่งหลักฐานที่แสดงถึงการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการประชุมเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงานที่ชัดเจน
2. หลักฐานรายงานผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงานที่ชัดเจน ตามเอกสารประกอบการบรรยายโครงการอบรมให้ความรู้เกณฑ์การประเมิน ITA ของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของทุกเขตสุขภาพ ที่มีลักษณะเป็นรูปเล่มรายงาน
3. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้สั่งการให้นำรายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจส่งหลักฐานที่แสดงถึงการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการประชุมเพื่อวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงานที่ชัดเจน
2. หลักฐานรายงานผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงานที่ชัดเจน ตามเอกสารประกอบการบรรยายโครงการอบรมให้ความรู้เกณฑ์การประเมิน ITA ของหน่วยงานในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขราชการบริหารส่วนภูมิภาคประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ของทุกเขตสุขภาพ ที่มีลักษณะเป็นรูปเล่มรายงาน
3. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้สั่งการให้นำรายงานการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 19
EB 20 : หน่วยงานมีการจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อน โดยการกำหนดมาตรการ และวางระบบเพื่อจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการกำหนดมาตรการและวางระบบเพื่อจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงานที่ได้จากข้อ EB 19 รายละเอียดมีดังนี้
1. มีลักษณะเป็นคำสั่ง/ข้อสั่งการ/ประกาศ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานหรือผู้บริหารที่ได้รับมอบหมาย
2. มีแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงานที่มีความสอดคล้องตามบทวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ที่ได้จากข้อ EB 19
3. มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง โดยการรายงานผลการดำเนินงานเพื่อจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้สั่งการให้นำแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน และรายงานการกำกับติดตามไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการกำหนดมาตรการและวางระบบเพื่อจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงานที่ได้จากข้อ EB 19 รายละเอียดมีดังนี้
1. มีลักษณะเป็นคำสั่ง/ข้อสั่งการ/ประกาศ โดยผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานหรือผู้บริหารที่ได้รับมอบหมาย
2. มีแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงานที่มีความสอดคล้องตามบทวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน ที่ได้จากข้อ EB 19
3. มีการกำหนดกลไกการกำกับติดตามอย่างต่อเนื่อง โดยการรายงานผลการดำเนินงานเพื่อจัดการความเสี่ยงเกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน
4. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้สั่งการให้นำแนวทางการปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน เพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนของหน่วยงาน และรายงานการกำกับติดตามไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงาน มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 20
EB 21 : หน่วยงานมีการอบรมให้ความรู้ภายในหน่วยงาน เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพพิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่บุคลากรในหน่วยงาน รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการจัดโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่บุคลากรในหน่วยงาน
2. รายชื่อผู้เข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่บุคลากรในหน่วยงานสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จะต้องนำเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ความรับผิดชอบเข้าร่วมการอบรมด้วย
3. รายงานผลการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่บุคลากรในหน่วยงาน
4. ภาพกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมการอบรมที่ชัดเจน
5. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้รับทราบผลการอบรมและได้สั่งการให้นำรายละเอียดตามข้อ 1. ถึงข้อ 4. เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์หรือไม่ หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น (ถ้ามี)
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพพิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่บุคลากรในหน่วยงาน รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการจัดโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่บุคลากรในหน่วยงาน
2. รายชื่อผู้เข้าร่วมอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่บุคลากรในหน่วยงานสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จะต้องนำเจ้าหน้าที่ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ความรับผิดชอบเข้าร่วมการอบรมด้วย
3. รายงานผลการอบรมให้ความรู้เรื่องการป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนแก่บุคลากรในหน่วยงาน
4. ภาพกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดกิจกรรมการอบรมที่ชัดเจน
5. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้รับทราบผลการอบรมและได้สั่งการให้นำรายละเอียดตามข้อ 1. ถึงข้อ 4. เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์และมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์หรือไม่ หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น (ถ้ามี)
เอกสาร EB 21
ตัวชี้วัดที่ 9 : การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
EB 22 : หน่วยงานมีการเสริมสร้างวัฒนธรรมสุจริตและต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียงต้านทุจริต ”
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจส่งหลักฐานที่แสดงถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมสุจริตและต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียงต้านทุจริต ” รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการจัดโครงการ / กิจกรรม ภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียงต้านทุจริต ” หรือ โมเดล STRONG ที่ใช้พันธะสัญญาร่วมกัน คือ “ สาธารณสุข ซื่อสัตย์ โปร่งใส ตื่นรู้ สู้ทุจริต จิตพอเพียง ”
2. รายชื่อผู้เข้าโครงการ / กิจกรรม ภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียงต้านทุจริต ” สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จะต้องนำบุคลากรในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ และความร่วมมือจากชุมชน (ถ้ามี) เข้าร่วมโครงการ / กิจกรรมด้วย
3. รายงานผลการจัดโครงการ / กิจกรรม ภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียงต้านทุจริต ”
4. ภาพกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดโครงการ / กิจกรรม ที่ชัดเจน
5. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้รับทราบผลการจัดโครงการ / กิจกรรม ภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียง ต้านทุจริต ” และได้สั่งการให้นำรายละเอียดตามข้อ 1. ถึงข้อ 4. เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานและมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจส่งหลักฐานที่แสดงถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมสุจริตและต่อต้านการทุจริตภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียงต้านทุจริต ” รายละเอียดมีดังนี้
1. หลักฐานการจัดโครงการ / กิจกรรม ภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียงต้านทุจริต ” หรือ โมเดล STRONG ที่ใช้พันธะสัญญาร่วมกัน คือ “ สาธารณสุข ซื่อสัตย์ โปร่งใส ตื่นรู้ สู้ทุจริต จิตพอเพียง ”
2. รายชื่อผู้เข้าโครงการ / กิจกรรม ภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียงต้านทุจริต ” สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ จะต้องนำบุคลากรในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในพื้นที่ และความร่วมมือจากชุมชน (ถ้ามี) เข้าร่วมโครงการ / กิจกรรมด้วย
3. รายงานผลการจัดโครงการ / กิจกรรม ภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียงต้านทุจริต ”
4. ภาพกิจกรรม ต้องระบุวัน เวลา สถานที่จัดโครงการ / กิจกรรม ที่ชัดเจน
5. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชาได้รับทราบผลการจัดโครงการ / กิจกรรม ภายใต้แนวคิด “ จิตพอเพียง ต้านทุจริต ” และได้สั่งการให้นำรายละเอียดตามข้อ 1. ถึงข้อ 4. เผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานและมีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์หรือสื่อสารเผยแพร่ในช่องทางอื่น
เอกสาร EB 22
EB 23 : หน่วยงาน มีการรวมกลุ่มของบุคลากรในหน่วยงานในนาม “ ชมรม STRONG … ”
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการรวมกลุ่มของบุคลากรในหน่วยงานในนาม “ ชมรม STRONG … ” กลไกหลักในการเฝ้าระวังและแจ้งเบาะแสของหน่วยงาน
1. หลักฐานการรวมกลุ่มของบุคลากรในหน่วยงานในนาม “ ชมรม STRONG … ” ที่มีวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งชมรม STRONG ... ที่ชัดเจน ทั้งนี้เพื่อรณรงค์หรือส่งเสริมให้หน่วยงานมีกลไกในการเฝ้าระวังและแจ้งเบาะแสของหน่วยงาน
2. หลักฐานที่แสดงถึงแนวทางการดำเนินกิจกรรมของชมรม STRONG ...
3. หลักฐานที่แสดงถึงรายชื่อสมาชิกของชมรม STRONG ...
4. หลักฐานที่แสดงถึงกิจกรรมการดำเนินงานของชมรม STRONG ... ที่มีความต่อเนื่อง
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการรวมกลุ่มของบุคลากรในหน่วยงานในนาม “ ชมรม STRONG … ” กลไกหลักในการเฝ้าระวังและแจ้งเบาะแสของหน่วยงาน
1. หลักฐานการรวมกลุ่มของบุคลากรในหน่วยงานในนาม “ ชมรม STRONG … ” ที่มีวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งชมรม STRONG ... ที่ชัดเจน ทั้งนี้เพื่อรณรงค์หรือส่งเสริมให้หน่วยงานมีกลไกในการเฝ้าระวังและแจ้งเบาะแสของหน่วยงาน
2. หลักฐานที่แสดงถึงแนวทางการดำเนินกิจกรรมของชมรม STRONG ...
3. หลักฐานที่แสดงถึงรายชื่อสมาชิกของชมรม STRONG ...
4. หลักฐานที่แสดงถึงกิจกรรมการดำเนินงานของชมรม STRONG ... ที่มีความต่อเนื่อง
เอกสาร EB 23
EB 24 : หน่วยงานมีนโยบายและมีแนวปฏิบัติที่เคารพสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีของผู้ปฏิบัติงาน มาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงาน
องค์ประกอบด้านข้อมูลในการตรวจประเมินในระบบ MITAS
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมที่เคารพสิทธิมนุษยชนที่เป็นจริยธรรมสากล ในการเคารพสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีของผู้ปฏิบัติงานมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศในการทำงาน
1. มีเนื้อหาที่แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมความเท่าเทียมกันระหว่างบุคคล และสร้างองค์กรที่ปราศจากการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานด้วยการปฏิบัติต่อกันอย่างให้เกียรติและเคารพซึ่งกันและกัน และไม่กระทำการใดที่เป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศต่อผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน
2. เจตนารมณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานดำเนินการให้เสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 2 (ระยะเวลาเดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือนมีนาคม 2564)
3. มีหลักฐานเป็นคู่มือแนวปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน
4. มีหลักฐานการแจ้งเวียน
5. มีรายงานการกำกับติดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน ตามแบบรายงานที่กำหนดดำเนินการให้เสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 4
6. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำหลักฐานเจตนารมณ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงาน ตามข้อ 2. ถึงข้อ 5. ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
ผู้ตรวจประเมินแบบสำรวจหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based) ระดับจังหวัดและระดับเขตสุขภาพ พิจารณาหลักฐานของหน่วยรับตรวจที่แสดงถึงการเสริมสร้างวัฒนธรรมที่เคารพสิทธิมนุษยชนที่เป็นจริยธรรมสากล ในการเคารพสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีของผู้ปฏิบัติงานมาตรการในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดทางเพศในการทำงาน
1. มีเนื้อหาที่แสดงถึงความมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมความเท่าเทียมกันระหว่างบุคคล และสร้างองค์กรที่ปราศจากการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานด้วยการปฏิบัติต่อกันอย่างให้เกียรติและเคารพซึ่งกันและกัน และไม่กระทำการใดที่เป็นการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศต่อผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน
2. เจตนารมณ์การป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานดำเนินการให้เสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 2 (ระยะเวลาเดือนตุลาคม 2563 ถึงเดือนมีนาคม 2564)
3. มีหลักฐานเป็นคู่มือแนวปฏิบัติการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน
4. มีหลักฐานการแจ้งเวียน
5. มีรายงานการกำกับติดตามมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงานของหน่วยงาน ตามแบบรายงานที่กำหนดดำเนินการให้เสร็จสิ้นในไตรมาสที่ 4
6. พิจารณาว่าผู้บังคับบัญชา ได้สั่งการให้นำหลักฐานเจตนารมณ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการล่วงละเมิดหรือคุกคามทางเพศในการทำงาน ตามข้อ 2. ถึงข้อ 5. ไปเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ มีแบบฟอร์มการเผยแพร่ข้อมูลต่อสาธารณะผ่านเว็บไซต์ของหน่วยงานหรือไม่
เอกสาร EB 24